ความถนัดทั่วไป (GAT : General Aptitude Test)
คือ การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ แยกได้ 2 ส่วน คือ
1. ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และแก้โจทย์ปัญหา 50 %
2. ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ 50 %
คือ การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ แยกได้ 2 ส่วน คือ
1. ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และแก้โจทย์ปัญหา 50 %
2. ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ 50 %
ความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (PAT :Professional and Academic Aptitude Test)
คือ ความรู้ที่เป็นพื้นฐานที่จะเรียนต่อในวิชาชีพนั้น ๆ กับศักยภาพที่จะเรียนในวิชาชีพนั้น ๆให้ประสบความสำเร็จ มี 7 ประเภท คือ
1. PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
2. PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
3. PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
4. PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
5. PAT 5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
6. PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
7. PAT 7 ความถนัดทางภาษาต่างประเทศ
คือ ความรู้ที่เป็นพื้นฐานที่จะเรียนต่อในวิชาชีพนั้น ๆ กับศักยภาพที่จะเรียนในวิชาชีพนั้น ๆให้ประสบความสำเร็จ มี 7 ประเภท คือ
1. PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
2. PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
3. PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
4. PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
5. PAT 5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
6. PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
7. PAT 7 ความถนัดทางภาษาต่างประเทศ
การสอบ GAT และ PAT
ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) ได้กำหนดองค์ประกอบและค่าน้ำหนักในการคัดเลือกเข้าศึกษาในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาด้วยระบบกลาง (Admissions) ปีการศึกษา 2553 ประกอบด้วย
1. GPAX 20%
2. O-NET 30%
3. GAT 10-50%
4. PAT 0-40%
รวม 100 %
ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) ได้กำหนดองค์ประกอบและค่าน้ำหนักในการคัดเลือกเข้าศึกษาในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาด้วยระบบกลาง (Admissions) ปีการศึกษา 2553 ประกอบด้วย
1. GPAX 20%
2. O-NET 30%
3. GAT 10-50%
4. PAT 0-40%
รวม 100 %
• GAT คือ ความถนัดทั่วไป (General Aptitude Test) ประกอบด้วย
1) ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา คะแนนเต็ม 150 คะแนน
2) ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ คะแนนเต็ม 150 คะแนน
**สอบ 3 ชั่วโมง ด้วยข้อสอบปรนัย และอัตนัยที่ตอบแบบปรนัย**
• PAT คือ ความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (Professional and Academic Aptitude Test)
ประกอบด้วย
1. PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
2. PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
3. PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
4. PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
5. PAT 5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
6. PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
7. PAT 7 ความถนัดทางภาษาต่างประเทศ
**สอบ 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบปรนัยและอัตนัยที่ตอบแบบปรนัย**
การสมัครสอบ online
วิธีการสมัคร online
1) เข้าเว็บไซต์ สทศ. http://www.niets.or.th/
2) Click ที่ Menu “เข้าระบบ GAT / PAT” หรือเข้าตรงได้ที่ http://www.gatpat.niets.or.th/
3) Click เลือก Menu “สมัครสอบ”
จะมีทั้งหมด 4 ขั้นตอน ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 : อ่านเงื่อนไขให้เข้าใจ เมื่ออ่านเข้าใจแล้ว กดปุ่ม “ยอมรับเงื่อนไข”
ขั้นตอนที่ 2 : กรอกรายละเอียดของผู้สมัครให้สมบูรณ์ครบถ้วน
ขั้นตอนที่ 3 : ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล พร้อมยืนยันความถูกต้อง
ขั้นตอนที่ 4 : พิมพ์ใบชำระเงิน แล้วนำไปชำระเงินที่ธนาคารกรุงไทย และธนาคารไทยพาณิชย์
(**กรุณาเก็บหลักฐานการชำระเงิน เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการสมัคร**)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น